หมัด การควบคุม และกำจัดหมัด (FLEAS AND FLEA CONTROL)
หมัด หรือบางคนเรียกว่าหมัดแมวเป็นตัวปรสิตภายนอกที่สร้างปัญหาโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยที่สุด ที่คลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าประมาณร้อยละ 90 ของโรคผิวหนังในสุนัขและแมว ที่มาใช้บริการกับทางคลินิก มักมีปัญหาโรคผิวหนังอักเสบจากการแพ้น้ำลายหมัดร่วมอยู่ด้วย นอกจากนี้หมัดยังเป็นตัวพาหะนำโรคต่างๆเช่นการติดพยาธิตัวตืด โรคฮีโมบาร์โทเนโลซิสเป็นต้น การควบคุมหมัดเป็นความท้าทายของสัตวแพทย์และตัวเจ้าของสัตว์ เพราะว่าตัวหมัดที่โตเต็มวัยเท่านั้นที่สร้างปัญหา แต่ทว่าในสภาพแวดล้อมรอบตัวสัตว์จะอุดมไปด้วยไข่ และตัวอ่อนระยะต่างๆของหมัดเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งไข่ และตัวอ่อนระยะต่างๆของหมัดเหล่านี้ จะเป็นตัวเพิ่มประชากรตัวหมัดที่โตเต็มวัยบนตัวสัตว์ และในสภาพแวดล้อมรอบตัวสัตว์ต่อไปเรื่อยๆ ซึ่งทำให้การควบคุมหมัดที่ดีในทางทฤษฎีคือ ต้องได้ผลครอบคลุมตัวหมัดทุกระยะ ทั้งบนตัวสัตว์ทุกตัว และในสภาพแวดล้อม ก่อนที่เราจะเข้าสู่การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม เราควรที่จะต้องรู้จักวงชีวิตของหมัดกันก่อน
วงชีวิตของหมัด (Ctenocephalides felis)
ตัวหมัดจะวางไข่บนขนของตัวสัตว์ที่มันอาศัยอยู่ หลังจากนั้นไข่หมัดจะร่วงหล่นจากตัวสัตว์ที่มันอาศัยอยู่ ไข่หมัดจะมีความทนต่อยาฆ่าแมลงทุกชนิด แต่จะไวต่อยาควบคุมการเจริญเติบโตของแมลง ตัวอ่อนของหมัด (Larvae) จะออกจากไข่ และเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมรอบตัวสัตว์เลี้ยง และกินมูล (เลือด) ที่ตัวหมัดถ่ายแล้วร่วงหล่นลงมาจากขนบนตัวสัตว์ ตัวอ่อนของหมัดจะไวต่อยาฆ่าแมลงทั่วๆไป สารในกลุ่มบอเรต และยาควบคุมการเจริญเติบโตของแมลง ตัวอ่อนของหมัดจะ
สร้างรังคล้ายรังไหมขึ้นมาหุ้มตัวมันเองแล้วพัฒนาเป็นตัวดักแด้ (Pupae) ต่อไป ซึ่งกระบวนการนี้ มักเกิดภายในเส้นใยของพรม ใยผ้า หรือใต้ใบหญ้า ในที่ที่ไม่โดนแสงแดด โดยตัวดักแด้ที่เกิดขึ้นมานี้ จะมีความทนต่อการแช่แข็ง การทำให้แห้ง และยาฆ่าแมลงหลายๆชนิด ตัวดักแด้จะสามารถคงสภาพดักแด้ได้หลายๆเดือนจนกว่าจะมีการกระตุ้นให้ลอกคราบเป็นตัวหมัดขั้นแรก ปัจจัยที่ช่วยทำให้เกิดการลอกคราบของตัวดักแด้ได้แก่ การสั่นสะเทือน ความร้อน และการเพิ่มขึ้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยปกติแล้วการลอกคราบของตัวดักแด้จะเกิดขึ้นเมื่อมีเหยื่ออยู่ใกล้ๆ และตัวหมัดขั้นแรกจะต้องพบเหยื่อในเวลาไม่กี่วินาที ตัวหมัดขั้นแรกที่เพิ่งออกมาจากไข่ ถ้าอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมจะมีชีวิตอยู่ได้ไม่กี่วันโดยไม่มีเหยื่อ ตัวหมัดที่เพิ่งเกิดใหม่จะเริ่มกินเลือดภายใน 1 ชั่วโมงหลังพบเหยื่อ (สุนัข และแมว) หลังจากที่หมัดดูดเลือดจากเหยื่อแล้ว ตัวหมัดจะมีชีวิตอยู่ได้อีกไม่นานหลังจากที่ลงจากตัวเหยื่อ ส่วนใหญ่แล้วอัตราการตายของตัวหมัดที่อยู่บนตัวเหยื่อที่ไม่ใช่ลูกสัตว์จะค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จะอยู่บนตัวเหยื่อได้ไม่เกิน 72 ชั่วโมงบนตัวเหยื่อที่มีอาการคันและสามารถแทะเลียตัวเองได้ แต่โชคไม่ดีที่กว่าที่ที่ตัวหมัดจะตาย ก็วางไข่ไปจำนวนมากแล้ว วงจรชีวิตของหมัดจะตกประมาณ 16 วัน
วิธีการควบคุมหมัดที่ควรทำ (FLEA CONTROL RECOMMENDATIONS)
ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง)มีความเห็นว่า เราต้องการให้สัตว์ที่มีปัญหาการแพ้น้ำลายหมัด ต้องปลอดจากหมัด 100% เพื่อให้ปลอดจากอาการแพ้น้ำลายหมัดอย่าง 100% ในกรณีที่มีการถูกหมัดกัดแม้เพียงเล็กน้อย (ถูกกัดแค่ 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์) ก็มากเพียงพอที่จะทำให้เกิดอาการการแพ้น้ำลายหมัดได้แล้ว ช่วงระยะหลังๆในหลายๆประเทศเริ่มมีการทำการควบคุมหมัดในสภาพแวดล้อมของสัตว์เลี้ยงโดยการใช้สารยับยั้งตัวอ่อนของหมัดควบคู่ไปกับการควบคุมหมัดบนตัวสัตว์ วิธีนี้เป็นวิธีที่ค่อนข้างจะเรียกได้ว่าได้ผลดีที่สุดในปัจจุบัน แต่ทว่ายังคงต้องการทำซ้ำหลายๆครั้งเพื่อเพิ่ม และคงประสิทธิภาพอันเป็นการที่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายที่สูงและแรงงานอีกเป็นจำนวนมาก รวมทั้งสารยับยั้งตัวอ่อนของหมัดยังไม่มีจำหน่ายในประเทศไทย ซึ่งทำให้การควบคุมหมัดที่มีประสิทธิภาพสำหรับสัตว์เลี้ยงในประเทศไทยทำได้ยากลำบากยิ่งขึ้น การใช้สารกำจัดตัวโตเต็มวัยของหมัดที่อยู่บนตัวสัตว์เพียงอย่างเดียวพบว่ามีผลแค่บรรเทาอาการเท่านั้น และยาที่ใช้ในการกำจัดหมัดที่มีจำหน่ายในประเทศไทย ส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ในการฆ่าที่ช้าทำให้ หมัดสามารถมีช่วงเวลาที่จะฉีดน้ำลายแก่สัตว์เลี้ยงได้อย่างเต็มที่ แล้วยังเหลือเวลามากพอที่จะวางไข่เพื่อแพร่พันธุ์ต่อไปก่อนที่จะตายอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ยาที่ใช้ในการกำจัดหมัดที่สามารถลดการรับน้ำลายหมัดก็มีจำหน่ายในประเทศไทยเช่นกัน แต่ก็ข้อจำกัดการใช้บางอย่าง และหาซื้อได้ค่อนข้างยาก สำหรับตัวผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการควบคุมหมัด ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ไม่สามารถแนะนำโดยไม่ผ่านการตรวจและรักษาจากทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง)ได้ เพราะมีข้อจำกัดในเรื่องจรรยาบรรณ และกฎหมายเกี่ยวกับการโฆษณา
ในความเห็นของทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) การกำจัดหมัด เพื่อการรักษาการแพ้น้ำลายหมัดที่ทำได้ในประเทศไทย คือการใช้ผลิตภัณฑ์ที่สามารถลดการรับน้ำลายหมัดกับสัตว์เลี้ยงทุกตัวในบ้าน ร่วมกับการกำจัดหมัดที่อยู่ในสภาพแวดล้อมของสัตว์เลี้ยงอย่างเต็มที่
สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับสู่เวบเพจของ “คลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง)” หวังว่าทุกท่านที่ได้เข้ามาเยี่ยมชมคงได้รับประโยชน์จากเวบเพจนี้
แนะนำคลินิก
ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง เป็นส่วนหนึ่งของคลินิกบ้านรักสัตว์ ตั้งขึ้นมาเพื่อให้บริการบำบัดรักษาโรคผิวหนังสัตว์ ตั้งแต่ระดับเบื้องต้น จนถึงระดับการตรวจรักษาที่มีความยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้ง ยังให้บริการรับส่งต่อเพื่อการตรวจรักษาต่อเนื่องในรายที่มีปัญหาโรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังที่มีความยุ่งยากซับซ้อนจากคลินิก หรือโรงพยาบาลสัตว์อื่นอีกด้วย
ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง ดำเนินการตรวจ และรักษาโดย “น.สพ. รังสรรค์ สกุลพลอย สพ.บ. Cert Vet Dermatology”
การ บริการของทางศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง จะให้บริการด้านโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง แบบครบวงจร ตั้งแต่โรคผิวหนังเบื้องต้น เช่นโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อ หรือปรสิต จนถึงโรคที่ต้องการ การตรวจวินิจฉัยและการรักษาที่มีความยุ่งยากซับซ้อน เช่น โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็งหรือเนื้องอกของผิวหนัง โรคผิวหนังที่เกิดจากความบกพร่องของฮอร์โมนหรือระบบภูมิค้มกัน รวมถึงโรคติดเชื้อของผิวหนัง หูอักเสบ โรคของเท้าที่เป็นๆหายๆ หรือไม่ยอมหายขาด
ขั้นตอนการรักษาโรคผิวหนังของทางศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง จะกระทำในแนวทางเดียวกับที่กระทำกันในประเทศออสเตรเลีย โดยจะเน้นไปที่การเจาะลึกไปถึงสาเหตุของโรคทั้ง สาเหตุหลัก และสาเหตุที่ซ่อนอยู่ควบคู่ไปกับการรักษา เพื่อให้เกิดประสิทธิการรักษาที่สูงที่สุด มีผลข้างเคียงจากการรักษาน้อยที่สุด รวมทั้งประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายให้มากที่สุด
ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง ดำเนินการตรวจ และรักษาโดย “น.สพ. รังสรรค์ สกุลพลอย สพ.บ. Cert Vet Dermatology”
การ บริการของทางศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง จะให้บริการด้านโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง แบบครบวงจร ตั้งแต่โรคผิวหนังเบื้องต้น เช่นโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อ หรือปรสิต จนถึงโรคที่ต้องการ การตรวจวินิจฉัยและการรักษาที่มีความยุ่งยากซับซ้อน เช่น โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็งหรือเนื้องอกของผิวหนัง โรคผิวหนังที่เกิดจากความบกพร่องของฮอร์โมนหรือระบบภูมิค้มกัน รวมถึงโรคติดเชื้อของผิวหนัง หูอักเสบ โรคของเท้าที่เป็นๆหายๆ หรือไม่ยอมหายขาด
ขั้นตอนการรักษาโรคผิวหนังของทางศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง จะกระทำในแนวทางเดียวกับที่กระทำกันในประเทศออสเตรเลีย โดยจะเน้นไปที่การเจาะลึกไปถึงสาเหตุของโรคทั้ง สาเหตุหลัก และสาเหตุที่ซ่อนอยู่ควบคู่ไปกับการรักษา เพื่อให้เกิดประสิทธิการรักษาที่สูงที่สุด มีผลข้างเคียงจากการรักษาน้อยที่สุด รวมทั้งประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายให้มากที่สุด
การบริการของเรา
การบริการของทางศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยงประกอบด้วย
· การตรวจทางเซลล์วิทยา (Cytology)
· การตรวจเชื้อรา โดยวิธี KOH preparation, Wood’s lamp examination, และ Fungal Culture
· การทดสอบการแพ้น้ำลายหมัด (Flea bite hypersensitivity testing)
· การทดสอบการเกิดโรคผิวหนังเนื่อง จากอาหาร (Adverse food reaction testing)
· การทดสอบการเกิดปฏิกิริยากับสาร ภูมิแพ้ในอากาศ (Aeroallergen Testing)
· การตัดชิ้นเนื้อของผิวหนังที่มี ปัญหา เพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา (Skin Biopsy for Dermatohistopathology)
· การทดสอบระดับฮอร์โมน เพื่อการวินิจฉัยโรคผิวหนังที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน (Hormonal Assay for Skin disease due to Endocrinopathy)
· การรักษาโรคภูมิแพ้ โดยการ Immunotherapy
· การตรวจโรคหู โดยการทำ Otoscopic examination
· การรักษาโรคหูอักเสบ โดยการทำ Ear Flushing technique
· การตรวจทางเซลล์วิทยา (Cytology)
· การตรวจเชื้อรา โดยวิธี KOH preparation, Wood’s lamp examination, และ Fungal Culture
· การทดสอบการแพ้น้ำลายหมัด (Flea bite hypersensitivity testing)
· การทดสอบการเกิดโรคผิวหนังเนื่อง จากอาหาร (Adverse food reaction testing)
· การทดสอบการเกิดปฏิกิริยากับสาร ภูมิแพ้ในอากาศ (Aeroallergen Testing)
· การตัดชิ้นเนื้อของผิวหนังที่มี ปัญหา เพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา (Skin Biopsy for Dermatohistopathology)
· การทดสอบระดับฮอร์โมน เพื่อการวินิจฉัยโรคผิวหนังที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน (Hormonal Assay for Skin disease due to Endocrinopathy)
· การรักษาโรคภูมิแพ้ โดยการ Immunotherapy
· การตรวจโรคหู โดยการทำ Otoscopic examination
· การรักษาโรคหูอักเสบ โดยการทำ Ear Flushing technique
ที่ตั้งคลินิก
66/36 หมู่บ้านนิศาชล ซ. บางแวก79 ถ. บางแวก (จรัลฯ13)
แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ กทม 10160
โทร. 064-253-5695
แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ กทม 10160
โทร. 064-253-5695
มือถือ 064-253-5695 (เปิดเครื่องรับสาย 8.00 น. - 20.00น.)
E-mail: allergyvet@yahoo.com
LINE : allergyskinvet
Facebook: facebook.com/allergyskinvet และ http://www.facebook.com/allergydermvet
พิกัด GPS : 13.741167,100.422598 (บนแผนที่ของ Google)
แผนที่ของคลิินิก: ให้ ก็อปปี้ "13.741167,100.422598" แล้วไป paste ลงที่ช่อง ค้นหา maps ของ http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=wl คุณพบแผนที่ของคลินิก
จากนั้นคุณสามารถค้นหาเส้นทางมาที่คลินิกได้จาก link ที่อยู่ด้านซ้ายของแผนที่
สำหรับท่านที่ใช้ GPS ของ Garmin ให้ใช้พิกัด N:13 ํ 44.469' E:100 ํ 25.361'
แผนที่ของคลิินิก: ให้ ก็อปปี้ "13.741167,100.422598" แล้วไป paste ลงที่ช่อง ค้นหา maps ของ http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=wl คุณพบแผนที่ของคลินิก
จากนั้นคุณสามารถค้นหาเส้นทางมาที่คลินิกได้จาก link ที่อยู่ด้านซ้ายของแผนที่
สำหรับท่านที่ใช้ GPS ของ Garmin ให้ใช้พิกัด N:13 ํ 44.469' E:100 ํ 25.361'
การตรวจรักษาจะรับเฉพาะในรายที่โทรนัดเท่านั้นครับ ถ้าสนใจโทรนัดได้ที่ 064-253-5695 ครับ
ติดต่อกับผมได้ที่โทร 064-253-5695
LINE : allergyskinvet และที่
Facebook: http://www.facebook.com/allergyskinvet
และ http://www.facebook.com/allergydermvet ครับ
เวลาทำการ
อาทิตย์ 13.00-20.30น.
จันทร์-ศุกร์ 11.00-14.00น. และ 17.00-20.30 น. (ช่วงโรงเรียนเปิดเทอม หมอต้องออกไปรับลูก)
เสาร์ เฉพาะนัดล่วงหน้าเท่านั้น (ถ้าไม่มีใครนัด หมอขอปิดทำการ เพื่อพาลูกไปเที่ยว)
เนื่องจาก ปัจจุบันเจ้าของสัตว์หลายๆรายจะอยู่ไกลจากคลินิกมาก ประกอบกับช่วงนี้ตัวหมอเองมีความจำเป็นบางอย่าง ที่อาจจำเป็นต้องปิดทำการเพื่อออกไปทำธุระ
จึงใคร่ขอรบกวนให้ช่วยโทรนัดล่วงหน้า เพื่อจะได้ไม่มาแล้วเสียเที่ยว
ทางคลินิกต้องขออภัยมา ณ. ที่นี้
จันทร์-ศุกร์ 11.00-14.00น. และ 17.00-20.30 น. (ช่วงโรงเรียนเปิดเทอม หมอต้องออกไปรับลูก)
เสาร์ เฉพาะนัดล่วงหน้าเท่านั้น (ถ้าไม่มีใครนัด หมอขอปิดทำการ เพื่อพาลูกไปเที่ยว)
เนื่องจาก ปัจจุบันเจ้าของสัตว์หลายๆรายจะอยู่ไกลจากคลินิกมาก ประกอบกับช่วงนี้ตัวหมอเองมีความจำเป็นบางอย่าง ที่อาจจำเป็นต้องปิดทำการเพื่อออกไปทำธุระ
จึงใคร่ขอรบกวนให้ช่วยโทรนัดล่วงหน้า เพื่อจะได้ไม่มาแล้วเสียเที่ยว
ทางคลินิกต้องขออภัยมา ณ. ที่นี้
ติดต่อกับผมได้ที่โทร 064-253-5695
LINE : allergyskinvet และที่
Facebook: http://www.facebook.com/allergyskinvet
และ http://www.facebook.com/allergydermvet ครับ
ราคาค่าบริการสำหรับการรักษาโรคผิวหนังของทางศูนย์โรคภูมิแพ้และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง
ราคาค่าบริการสำหรับโรคผิวหนังทั่วไป และโรคภูมิแพ้
+ค่าตรวจ + ค่าตรวจโรคผิวหนัง 200 บาท
+ค่าตรวจ + ค่าตรวจโรคผิวหนัง 200 บาท
+ค่าตรวจเพิ่มเติมที่อาจจำเป็น จะแจ้งราคาให้ทราบเมื่อจำเป็นต้องทำการตรวจ
+ค่ายารักษา ขึ้นกับชนิดของตัวยา ปริมาณยาที่ใช้ และตัวสัตว์ป่วยแต่ละตัว
ค่าใช้จ่ายสำหรับโรคขี้เรื้อนรูขุมขน (สุนัขน้ำหนักตัวไม่เกิน 16 กิโลกรัม)
+ค่าตรวจทั่วไป + ค่าตรวจโรคผิวหนัง 200 บาท
+ค่ายาที่ใช้รักษา 1,200 บาทต่อ 1 เดือน
+ค่ายาอื่นๆที่อาจต้องใช้ ขึ้นกับชนิดของตัวยา ปริมาณยาที่ใช้ และตัวสัตว์ป่วยแต่ละตัว
+ค่ายารักษา ขึ้นกับชนิดของตัวยา ปริมาณยาที่ใช้ และตัวสัตว์ป่วยแต่ละตัว
ค่าใช้จ่ายสำหรับโรคขี้เรื้อนรูขุมขน (สุนัขน้ำหนักตัวไม่เกิน 16 กิโลกรัม)
+ค่าตรวจทั่วไป + ค่าตรวจโรคผิวหนัง 200 บาท
+ค่ายาที่ใช้รักษา 1,200 บาทต่อ 1 เดือน
+ค่ายาอื่นๆที่อาจต้องใช้ ขึ้นกับชนิดของตัวยา ปริมาณยาที่ใช้ และตัวสัตว์ป่วยแต่ละตัว
สำหรับท่านที่ไม่ชอบพกเงินสด 😀😀 ตอนนี้ทางคลินิกได้เพิ่มช่องทางการชำระเงินโดยใช้ การโอนเงินผ่าน Promtpay, การใช้ QR Code (ไม่ค่าโอนถ้าใช้บัญชี Promptpay) และรับชำระเงินด้วยบัตรเครดิต(คิดค่าธรรมเนียมการใช้บัตร 3%) ได้แล้วครับ 😁😁
เส้นทางมาที่คลินิก
คลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 66/36 หมู่บ้านนิศาชล ซ. บางแวก79 ถ. บางแวก (จรัลฯ13)
แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ กทม 10160
การเดินทางมาที่คลินิกบ้านรักสัตว์(ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะสามารถมาได้หลายทาง โดยถ้ามาจาก ถ.กาญจนาภิเษก ให้เลี้ยวเข้า ถ.จรัลฯ 13(บางแวก) มุ่งหน้าไปทาง ถ.จรัลสนิทวงศ์ วิ่งตามทางมาเรื่อยๆ จะเห็นซุ้มประตูวัดมะพร้าวเตี้ยอยู่ด้านซ้าย ให้วิ่งตามทางมาเรื่อยๆจะเห็นหมู่บ้านศุภาลัยอยู่ด้านขวา จะเห็นตึกแถวของหมู่บ้านนิศาชลอยู่ติดกับหมู่บ้านศุภาลัย ให้เลี้ยวขวาเข้าซอยบางแวก79 (ซอยหมู่บ้านนิศาชล) จะเห็นเซเว่นฯ อยู่ปากปากซอย (ทางเข้าหมู่บ้าน) แล้วเตรียมชิดซ้ายหาที่จอดรถ จะเห็นป้าย “คลินิกบ้านรักสัตว์” อยู่ด้านซ้าย สามารถจอดรถได้ที่หน้าคลินิก
ถ้ามาจาก ถ.ราชพฤกษ์ ถ.พุทธมณฑลสาย1 ถ.จรัลสนิทวงศ์ หรือ ถ.เพชรเกษม48 ให้เลี้ยวเข้า ถ.จรัลฯ 13 (บางแวก) มุ่งหน้าไปทาง ถ.กาญจนาภิเษก วิ่งตามทางมาเรื่อยๆจนข้ามสะพานข้ามคลองราชมนตรี ให้เลี้ยวซ้ายเข้าซอยบางแวก79 (ซอยหมู่บ้านนิศาชล) จะเห็นเซเว่นฯ อยู่ปากปากซอย (ทางเข้าหมู่บ้าน) แล้วเตรียมชิดซ้ายหาที่จอดรถ จะเห็นป้าย “คลินิกบ้านรักสัตว์” อยู่ด้านซ้าย สามารถจอดรถได้ที่หน้าคลินิก
พิกัด GPS : 13.741167,100.422598 (บนแผนที่ของ Google)
แผนที่ของคลินิก: ให้ ก็อปปี้ 13.741167,100.422598 แล้วไป paste ลงที่ช่อง ค้นหา maps ของ http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=wl คุณพบแผนที่ของคลินิก
จากนั้นคุณสามารถค้นหาเส้นทางมาที่คลินิกได้จาก link ที่อยู่ด้านซ้ายของแผนที่
สำหรับท่านที่ใช้ GPS ของ Garmin ให้ใช้พิกัด N:13 ํ 44.469' E:100 ํ 25.361'
การตรวจรักษาจะรับเฉพาะในรายที่โทรนัดเท่านั้นครับ ถ้าสนใจโทรนัดได้ที่ 064-253-5695 ครับ
การเตรียมตัวพาสัตว์เลี้ยงเพื่อรับการตรวจโรคผิวหนังกับทางคลินิกบ้านรักสัตว์
เพื่อที่จะเป็นการประหยัดเวลา และลดการใช้จ่ายบางอย่างที่ไม่จำเป็นต้องมีแก่เจ้าของสัตว์ป่วย
* คนที่พาสุนัขมารับการตรวจ และรักษา ควรเป็นเจ้าของสัตว์ป่วย หรือผู้ที่สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการการยอมรับการรักษาและค่าใช้จ่ายต่างๆ เนื่องจากโรคผิวหนังมัก ใช้ระยะเวลาในการรักษาที่นาน มักต้องการการตรวจหลายครั้ง และต้องการการสื่อสารที่ดี เพื่อการอธิบายถึงปัญหาต่างๆของตัวโรค และแผนการรักษาที่ชัดเจน และไม่คลุมเคลือ
* กรุณาอย่าให้คนอื่น หรือคนรับใช้ที่ไม่สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ เป็นคนพามาตรวจ และรับการรักษาแทน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเนื่องจาก การสื่อสาร
* งดอาบน้ำสัตว์เลี้ยงของคุณก่อนมารับการตรวจ และรักษาอย่างน้อย 5 วันก่อนการนัดหมาย
* งดทำความสะอาดหูสัตว์เลี้ยงของคุณก่อนมารับการตรวจ และรักษาอย่างน้อย 5 วันก่อนการนัดหมาย
*กรุณาอย่าใช้ยาทาที่เป็นสีต่างๆ ซึ่งล้างออกยาก เช่น ยาม่วง ยาเหลือง ยาแดง เนื่องยากลุ่มนี้จะบังแผล แผลรอยโรคต่างๆ และรบกวนการย้อมสีตัวอย่าง
* ถ้ามียาที่ต้องให้กิน หรือฉีดที่ต้องใช้อยู่ ณ เวลาที่ต้องการพามาตรวจ (ซึ่งได้รับมาจากคลินิก หรือโรงพยาบาลสัตว์อื่น) กรุณาอย่างดยา และแจ้งให้ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ทราบทุกครั้ง
*สำหรับในกรณีที่พาแมวมา กรุณาใส่กรง หรือตระกร้าที่ปิดล๊อคได้มา เพื่อความปลอดภัยของแมว และตัวเจ้าของแมวเอง
* ควรโทรนัดล่วงหน้า
*ควรให้เวลากับทางคลินิก 1-2 ชั่วโมงเพื่อ การตรวจ รักษา และให้คำแนะนำได้เต็มที่
* เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ท่านเจ้าของสัตว์ป่วย กรุณากรอกแบบสอบถามโดยการคลิกที่ Label ทางด้านขวา หรือดาวน์โหลดได้จาก
https://docs.google.com/document/d/1u2LAH4cKOLi6Pvrdp5Bzyaq49q4OWS9-smhix7oKoNc/edit
โดยให้ Save เป็นไฟล์ของ Word แล้วกรอกแบบสอบถาม จากนั้นสามารถส่งได้โดยการปริ๊นท์ออกมาแล้วนำมาพร้อมกับสัตว์เลี้ยง หรือส่งมาทาง email หรืออัปโหลดขึ้น google docs แล้วแจ้งลิงค์มาทาง
http://www.facebook.com/Allergyskinvet หรือ http://www.facebook.com/allergydermvet ก็ได้
การตรวจรักษาจะรับเฉพาะในรายที่โทรนัดเท่านั้นครับ ถ้าสนใจโทรนัดได้ที่ 064-253-5695 ครับ
* คนที่พาสุนัขมารับการตรวจ และรักษา ควรเป็นเจ้าของสัตว์ป่วย หรือผู้ที่สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการการยอมรับการรักษาและค่าใช้จ่ายต่างๆ เนื่องจากโรคผิวหนังมัก ใช้ระยะเวลาในการรักษาที่นาน มักต้องการการตรวจหลายครั้ง และต้องการการสื่อสารที่ดี เพื่อการอธิบายถึงปัญหาต่างๆของตัวโรค และแผนการรักษาที่ชัดเจน และไม่คลุมเคลือ
* กรุณาอย่าให้คนอื่น หรือคนรับใช้ที่ไม่สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ เป็นคนพามาตรวจ และรับการรักษาแทน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเนื่องจาก การสื่อสาร
* งดอาบน้ำสัตว์เลี้ยงของคุณก่อนมารับการตรวจ และรักษาอย่างน้อย 5 วันก่อนการนัดหมาย
* งดทำความสะอาดหูสัตว์เลี้ยงของคุณก่อนมารับการตรวจ และรักษาอย่างน้อย 5 วันก่อนการนัดหมาย
*กรุณาอย่าใช้ยาทาที่เป็นสีต่างๆ ซึ่งล้างออกยาก เช่น ยาม่วง ยาเหลือง ยาแดง เนื่องยากลุ่มนี้จะบังแผล แผลรอยโรคต่างๆ และรบกวนการย้อมสีตัวอย่าง
* ถ้ามียาที่ต้องให้กิน หรือฉีดที่ต้องใช้อยู่ ณ เวลาที่ต้องการพามาตรวจ (ซึ่งได้รับมาจากคลินิก หรือโรงพยาบาลสัตว์อื่น) กรุณาอย่างดยา และแจ้งให้ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ทราบทุกครั้ง
*สำหรับในกรณีที่พาแมวมา กรุณาใส่กรง หรือตระกร้าที่ปิดล๊อคได้มา เพื่อความปลอดภัยของแมว และตัวเจ้าของแมวเอง
* ควรโทรนัดล่วงหน้า
*ควรให้เวลากับทางคลินิก 1-2 ชั่วโมงเพื่อ การตรวจ รักษา และให้คำแนะนำได้เต็มที่
* เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ท่านเจ้าของสัตว์ป่วย กรุณากรอกแบบสอบถามโดยการคลิกที่ Label ทางด้านขวา หรือดาวน์โหลดได้จาก
https://docs.google.com/document/d/1u2LAH4cKOLi6Pvrdp5Bzyaq49q4OWS9-smhix7oKoNc/edit
โดยให้ Save เป็นไฟล์ของ Word แล้วกรอกแบบสอบถาม จากนั้นสามารถส่งได้โดยการปริ๊นท์ออกมาแล้วนำมาพร้อมกับสัตว์เลี้ยง หรือส่งมาทาง email หรืออัปโหลดขึ้น google docs แล้วแจ้งลิงค์มาทาง
http://www.facebook.com/Allergyskinvet หรือ http://www.facebook.com/allergydermvet ก็ได้
การตรวจรักษาจะรับเฉพาะในรายที่โทรนัดเท่านั้นครับ ถ้าสนใจโทรนัดได้ที่ 064-253-5695 ครับ
Monday, October 18, 2010
รังแค รังควาน หรือภาวะซีบอเรีย (SEBORRHEA - KERATINIZATION DISORDERS)
รังแค รังควาน ผิวหนังมันเยิ้ม หรือภาวะซีบอเรีย (SEBORRHEA - KERATINIZATION DISORDERS)
ภาวะซีบอเรีย เป็นอาการหนึ่งของโรคผิวหนัง ซึ่งมีการแสดงออกได้หลายแบบ อาจเป็นแบบผิวหนังแห้ง มีรังแค หรือ ผิวหนังมันถึงเยิ้ม ร่วมกับมีไขมันสีเหลืองติดตามผิวหนังร่วมกับมีกลิ่นเหม็นหืน หรืออาจเป็นทั้งสองแบบร่วมกัน ในบางครั้งอาจพบลักษณะสะเก็ดเป็นวงๆ โดยอจมีปื้นกลมสีแดง หรือสีอื่นๆอยู่ตรงกลางวงสะเก็ดร่วมด้วย หลายๆรายพบว่าอาการจะรุนแรงกว่าปกติที่ตำแหน่งรอยย่น หรือร่องอับของผิวหนัง เช่นที่เท้า ใต้ลำคอ และลำตัว และมักมีกลิ่นไม่พึงประสงค์ร่วมด้วย ซึ่งถ้ามีการติดเชื้อแทรกซ้อนมักจะทำให้อาการแย่ลง รวมทั้งกล่นจะแรงขึ้น หลายรายจะเกิดในรูหูทำให้เกิดหูอักเสบตามมา
ในความเห็นของทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ภาวะซีบอเรีย ส่วนใหญ่มักจะเกิดปัญหาโรคผิวหนังต่างๆเช่น โรคผิวหนังที่เกิดจากความไม่สมดุลของฮอร์โมน กลุ่มโรคภูมิแพ้ การติดเชื้อรา ยีสต์ หรือแบคทีเรีย ภาวะทุโภชนาการ เป็นต้น ในขณะที่บางรายก็ไม่มีโรคผิวหนังอื่นร่วมหรือหาสาเหตุไม่พบ ซึ่งเราเรียกภาวะนี้ว่า primary หรือ IDIOPATHIC SEBORRHEA.
การรักษาภาวะซีบอเรียของทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะทำร่วมกับการจัดการโรคผิวหนังที่เกิดร่วมด้วย สำหรับในรายสรุปแล้วเป็นกลุ่มprimary หรือ IDIOPATHIC SEBORRHEA ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะเน้นไปที่การคุมอาการเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยการใช้ยาบางชนิด หรือแชมพูที่ผ่านการทดสอบว่าเหมาะกับสัตว์ป่วยตัวนั้นๆ แต่ละตัวเป็นรายๆไป
ภาวะซีบอเรีย เป็นอาการหนึ่งของโรคผิวหนัง ซึ่งมีการแสดงออกได้หลายแบบ อาจเป็นแบบผิวหนังแห้ง มีรังแค หรือ ผิวหนังมันถึงเยิ้ม ร่วมกับมีไขมันสีเหลืองติดตามผิวหนังร่วมกับมีกลิ่นเหม็นหืน หรืออาจเป็นทั้งสองแบบร่วมกัน ในบางครั้งอาจพบลักษณะสะเก็ดเป็นวงๆ โดยอจมีปื้นกลมสีแดง หรือสีอื่นๆอยู่ตรงกลางวงสะเก็ดร่วมด้วย หลายๆรายพบว่าอาการจะรุนแรงกว่าปกติที่ตำแหน่งรอยย่น หรือร่องอับของผิวหนัง เช่นที่เท้า ใต้ลำคอ และลำตัว และมักมีกลิ่นไม่พึงประสงค์ร่วมด้วย ซึ่งถ้ามีการติดเชื้อแทรกซ้อนมักจะทำให้อาการแย่ลง รวมทั้งกล่นจะแรงขึ้น หลายรายจะเกิดในรูหูทำให้เกิดหูอักเสบตามมา
ในความเห็นของทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ภาวะซีบอเรีย ส่วนใหญ่มักจะเกิดปัญหาโรคผิวหนังต่างๆเช่น โรคผิวหนังที่เกิดจากความไม่สมดุลของฮอร์โมน กลุ่มโรคภูมิแพ้ การติดเชื้อรา ยีสต์ หรือแบคทีเรีย ภาวะทุโภชนาการ เป็นต้น ในขณะที่บางรายก็ไม่มีโรคผิวหนังอื่นร่วมหรือหาสาเหตุไม่พบ ซึ่งเราเรียกภาวะนี้ว่า primary หรือ IDIOPATHIC SEBORRHEA.
การรักษาภาวะซีบอเรียของทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะทำร่วมกับการจัดการโรคผิวหนังที่เกิดร่วมด้วย สำหรับในรายสรุปแล้วเป็นกลุ่มprimary หรือ IDIOPATHIC SEBORRHEA ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะเน้นไปที่การคุมอาการเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยการใช้ยาบางชนิด หรือแชมพูที่ผ่านการทดสอบว่าเหมาะกับสัตว์ป่วยตัวนั้นๆ แต่ละตัวเป็นรายๆไป
Tuesday, October 12, 2010
ยาน่ารู้4 เอนโรฟลอกซาซิน (Enrofloxacin)
ยาน่ารู้4 เอนโรฟลอกซาซิน (Enrofloxacin)
บทความเกี่ยวกับยาต่างๆ ผู้เขียนเขียนขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่เจ้าของสัตว์ โดยอยู่บนความเชื่อที่ว่า เจ้าของสัตว์ควร และมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูลของรักษาจากสัตวแพทย์ที่ได้กระทำกับสัตว์สัตว์เลี้ยงของท่านอย่างเต็มที่เท่าที่จำเป็นที่อย่างที่ควรจะได้รับตามสิทธิของผู้บริโภค ซึ่งผู้เขียนเชื่อว่าหมดยุคของการปกปิดข้อมูลแล้ว อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และไม่สนับสนุนให้ผู้ไปหาซื้อยามาลองใช้กับสัตว์ป่วยของตนเองโดยไม่ผ่านการตรวจ และให้คำแนะนำในการใช้ยาต่างๆจากสัตวแพทย์ เพราะคุณ หรือสัตว์ได้รับผลเสียบางอย่างที่คาดไม่ถึงได้ รวมถึงจะขอเตือนว่าอย่าเอาข้อสิ่งที่ได้อ่านไปแสดงความอวดรู้ต่อสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการโดยเด็ดขาด เพราะว่าสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการก็เป็นแค่ปุถุชนคนหนึ่งซึ่งอาจมีทิฐิ และอารมณ์บางอย่างซึ่งอาจเกิดผลเสียบางอย่างกับคุณ หรือสัตว์เลี้ยงของคุณได้ ถึงแม้ว่า ผู้เขียน เชื่อมั่นอย่างยิ่งว่าสัตวแพทย์ทุกคนมีความเป็นมืออาชีพที่สูงพอก็ตาม
ชื่อการค้า: Baytril
รูปแบบของยา: เม็ดขนาด 22.7 mg, 68 mg, 136 mg และยาฉีด
เอนโรฟลอกซาซินเป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มยาฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) ซึ่งยาตัวอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันนี้ได้แก่ ออร์บิฟลอกซาซิน ซิโปรฟลอกซาซิน มาร์โบฟลอกซาซิน เป็นต้น ยาในกลุ่มนี้ จะออกฤทธิ์ต่อตัวแบคทีเรียโดยการยับยั้ง DNA gyrase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการ DNA transcription ของแบคทีเรีย ซึ่งผลของการยับยั้บ DNA gyrase นี้จะทำให้ไม่สามารถอ่านคำสั่งที่อยู่บน DNA ได้ ซึ่งผลที่ตามมาคือเซลล์ของแบคทีเรียตาย แต่ยาในกลุ่มนี้ไม่สามารถออกฤทธิ์ DNA gyrase ฃองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเช่น สุนัข แมว หรือมนุษย์ได้เพราะโครงสร้างทางเคมีของตัว DNA gyrase ต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ในทางสัตวแพทย์จะใช้ยาตัวนี้ในกรณีต่อไปนี้
*การติดเชื้อ Pseudomonas
*การติดเชื้อ Staphylococci รวมทั้งการติดเชื้อตัวนี้ที่ผิวหนัง
อย่างไรก็ตามยาตระกูลฟลูออโรควิโนโลนจะไม่ได้ผลกับการติดเชื้อแอนาโรบิค เช่น ฝี หรือ การติดเชื้อในช่องปาก
ผลข้างเคียงจาการใช้ยาตัวนี้ได้แก่
*มีอาการอาเจียนหรือท้องเสียในรายที่ใช้ยาตัวนี้สูงกว่าขนาดที่แนะนำ 10 เท่า แต่ยังไม่พบอาการเหล่านี้เมื่อใช้ในขนาดที่แนะนำ
*ทำให้กระดูกอ่อนตามข้อต่อต่างๆเกิดความเสียหายจากผลของยา ซึ่งพบได้ในสุนัขอายูไม่เกิน 8 เดือน แต่ไม่พบปัญหานี้ในแมว
*มีรายงานว่าเอนโรฟลอกซาซินอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อจอประสาทตา (Retina) ในแมวเมื่อได้รับยาในขนาดสูงได้
การใช้ยาเอนโรฟลอกซาซินร่วมยาตัวอื่น
*ยาซูคราเฟต (Sulcrafate) ซึ่งเป็นยารักษาโรคกระเพาะตัวหนึ่ง จะสามารถจับกับยาเอนโรฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
* ยาเอนโรฟลอกซาซินอาจทำให้ระดับยาทีโอฟิลิน (ยาขยายหลอดลม) ที่ใช้ร่วมกัน ในกระแสเลือดสูงขึ้นได้ ควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ในรายที่ได้รับยาไซโคสปอริน เช่นในรายที่ใช้ยาตัวนี้ในการรักษาโรคภูมิแพ้ ยาออร์บิฟลอกซาซินจะทำให้ยาไซโคสปอรินเป็นพิษต่อไตได้รุนแรงขึ้น ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ยาเอนโรฟลอกซาซินจะมีการออกฤทธิ์แบบเสริมฤทธิ์กันในการต้านการติดเชื้อแบคทีเรีย เมื่อใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม เพนนิซิลิน หรือเซบฟาโรสปอริน
*เกลือแร่ต่างๆที่อยู่ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเช่น ธาตุเหล้ก สังกะสี จะสามารถจับกับยาเอนโรฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
ข้อควรรู้
* ณ ขณะที่เขียนเรื่องนี้ ยาตัวนี้ในรูปแบบยาเม็ดยังมีราคาที่ค่อนข้างจะสูง เมื่อเทียบกับมาตรฐานค่าครองชีพของประเทศไทย เจ้าของสัตว์ที่ไม่พร้อมที่เรื่องค่าใช้จ่าย ควรแจ้งคุณหมอล่วงหน้า เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างคุณหมอ และเจ้าของสัตว์ผู้ใช้บริการ
*ยาเม็ดเอนโรฟลอกซาซิน จะมีการเคลือบเพื่อดับกลิ่น และรสของยา ดั้งนั้นในกรณีที่มีการหัก หรือบดเม็ดยาจะทำให้สัตว์ป่วยสามารถรับรู้รสขมจัดของยาได้
*การบดยาเพื่อผสมกับอาหารหลายๆชนิด ไม่สามารถดับกลิ่น หรือรสของยาได้ อย่างไรก็ตาม ก่อนหน้านี้ Bayer ได้ทำการผลิตยาตัวนี้ในรูป flavor-tab ซึ่งมีรสชาตที่ดีขึ้น ซึ่งทำให้ให้ยาได้ง่ายขึ้น
*ในการติดเชื้อบางชนิด หรือการติดเชื้อในบางอวัยวะ อาจต้องใช้ในขนาดที่สูงกว่าที่แนะนำ ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่มีข้อสงสัย
*ไม่ควรใช้ในตระกูลนี้กับสัตว์ที่มีปัญหาโรคลมชัก
* เอนโรฟลอกซาซินอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อจอประสาทตา (Retina) ในแมวเมื่อได้รับยาในขนาดสูงได้ ซึ่งแมวอาจตาบอดชั่วคราว หรือถาวรจากผลของยาได้ ณ. ขณะปัจจุบันเราพบปัญหานี้ปัญหานี้เฉพาะในรายที่ได้รับยาเอนโรฟลอกซาซิน เท่านั้น ยังไม่พบปัญหานี้ในรายที่ใช้ยาตระกูลฟลูออโรควิโนโลนตัวอื่นๆ ถึงแม้ว่าในทางทฤษฎียาตระกูลนี้จะทำให้เกิดความเสียหายต่อจอประสาทตา (Retina) ในแมวได้ก็ตาม
* เอนโรฟลอกซาซินสามารถทำให้เกิดผลึกของยาในปัสสาวะได้ แต่ยังไม่มีรายงานว่ายาเอนโรฟลอกซาซินทำให้เกิดนิ่ว
*เอนโรฟลอกซาซินเป็นพิษในคน ถ้าได้รับโดยการกิน หรือฉีด โดยเฉพาะในเด็ก ดังนั้นควรเก็บยาให้พ้นมือเด็ก แต่ถ้าเป็นการสัมผัสกับยา เช่นถือเม็ดยาเพื่อป้อนแก่สัตว์เลี้ยงจะไม่มีปัญหาใดๆ
บทความเกี่ยวกับยาต่างๆ ผู้เขียนเขียนขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่เจ้าของสัตว์ โดยอยู่บนความเชื่อที่ว่า เจ้าของสัตว์ควร และมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูลของรักษาจากสัตวแพทย์ที่ได้กระทำกับสัตว์สัตว์เลี้ยงของท่านอย่างเต็มที่เท่าที่จำเป็นที่อย่างที่ควรจะได้รับตามสิทธิของผู้บริโภค ซึ่งผู้เขียนเชื่อว่าหมดยุคของการปกปิดข้อมูลแล้ว อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และไม่สนับสนุนให้ผู้ไปหาซื้อยามาลองใช้กับสัตว์ป่วยของตนเองโดยไม่ผ่านการตรวจ และให้คำแนะนำในการใช้ยาต่างๆจากสัตวแพทย์ เพราะคุณ หรือสัตว์ได้รับผลเสียบางอย่างที่คาดไม่ถึงได้ รวมถึงจะขอเตือนว่าอย่าเอาข้อสิ่งที่ได้อ่านไปแสดงความอวดรู้ต่อสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการโดยเด็ดขาด เพราะว่าสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการก็เป็นแค่ปุถุชนคนหนึ่งซึ่งอาจมีทิฐิ และอารมณ์บางอย่างซึ่งอาจเกิดผลเสียบางอย่างกับคุณ หรือสัตว์เลี้ยงของคุณได้ ถึงแม้ว่า ผู้เขียน เชื่อมั่นอย่างยิ่งว่าสัตวแพทย์ทุกคนมีความเป็นมืออาชีพที่สูงพอก็ตาม
ชื่อการค้า: Baytril
รูปแบบของยา: เม็ดขนาด 22.7 mg, 68 mg, 136 mg และยาฉีด
เอนโรฟลอกซาซินเป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มยาฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) ซึ่งยาตัวอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันนี้ได้แก่ ออร์บิฟลอกซาซิน ซิโปรฟลอกซาซิน มาร์โบฟลอกซาซิน เป็นต้น ยาในกลุ่มนี้ จะออกฤทธิ์ต่อตัวแบคทีเรียโดยการยับยั้ง DNA gyrase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการ DNA transcription ของแบคทีเรีย ซึ่งผลของการยับยั้บ DNA gyrase นี้จะทำให้ไม่สามารถอ่านคำสั่งที่อยู่บน DNA ได้ ซึ่งผลที่ตามมาคือเซลล์ของแบคทีเรียตาย แต่ยาในกลุ่มนี้ไม่สามารถออกฤทธิ์ DNA gyrase ฃองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเช่น สุนัข แมว หรือมนุษย์ได้เพราะโครงสร้างทางเคมีของตัว DNA gyrase ต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ในทางสัตวแพทย์จะใช้ยาตัวนี้ในกรณีต่อไปนี้
*การติดเชื้อ Pseudomonas
*การติดเชื้อ Staphylococci รวมทั้งการติดเชื้อตัวนี้ที่ผิวหนัง
อย่างไรก็ตามยาตระกูลฟลูออโรควิโนโลนจะไม่ได้ผลกับการติดเชื้อแอนาโรบิค เช่น ฝี หรือ การติดเชื้อในช่องปาก
ผลข้างเคียงจาการใช้ยาตัวนี้ได้แก่
*มีอาการอาเจียนหรือท้องเสียในรายที่ใช้ยาตัวนี้สูงกว่าขนาดที่แนะนำ 10 เท่า แต่ยังไม่พบอาการเหล่านี้เมื่อใช้ในขนาดที่แนะนำ
*ทำให้กระดูกอ่อนตามข้อต่อต่างๆเกิดความเสียหายจากผลของยา ซึ่งพบได้ในสุนัขอายูไม่เกิน 8 เดือน แต่ไม่พบปัญหานี้ในแมว
*มีรายงานว่าเอนโรฟลอกซาซินอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อจอประสาทตา (Retina) ในแมวเมื่อได้รับยาในขนาดสูงได้
การใช้ยาเอนโรฟลอกซาซินร่วมยาตัวอื่น
*ยาซูคราเฟต (Sulcrafate) ซึ่งเป็นยารักษาโรคกระเพาะตัวหนึ่ง จะสามารถจับกับยาเอนโรฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
* ยาเอนโรฟลอกซาซินอาจทำให้ระดับยาทีโอฟิลิน (ยาขยายหลอดลม) ที่ใช้ร่วมกัน ในกระแสเลือดสูงขึ้นได้ ควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ในรายที่ได้รับยาไซโคสปอริน เช่นในรายที่ใช้ยาตัวนี้ในการรักษาโรคภูมิแพ้ ยาออร์บิฟลอกซาซินจะทำให้ยาไซโคสปอรินเป็นพิษต่อไตได้รุนแรงขึ้น ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ยาเอนโรฟลอกซาซินจะมีการออกฤทธิ์แบบเสริมฤทธิ์กันในการต้านการติดเชื้อแบคทีเรีย เมื่อใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม เพนนิซิลิน หรือเซบฟาโรสปอริน
*เกลือแร่ต่างๆที่อยู่ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเช่น ธาตุเหล้ก สังกะสี จะสามารถจับกับยาเอนโรฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
ข้อควรรู้
* ณ ขณะที่เขียนเรื่องนี้ ยาตัวนี้ในรูปแบบยาเม็ดยังมีราคาที่ค่อนข้างจะสูง เมื่อเทียบกับมาตรฐานค่าครองชีพของประเทศไทย เจ้าของสัตว์ที่ไม่พร้อมที่เรื่องค่าใช้จ่าย ควรแจ้งคุณหมอล่วงหน้า เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างคุณหมอ และเจ้าของสัตว์ผู้ใช้บริการ
*ยาเม็ดเอนโรฟลอกซาซิน จะมีการเคลือบเพื่อดับกลิ่น และรสของยา ดั้งนั้นในกรณีที่มีการหัก หรือบดเม็ดยาจะทำให้สัตว์ป่วยสามารถรับรู้รสขมจัดของยาได้
*การบดยาเพื่อผสมกับอาหารหลายๆชนิด ไม่สามารถดับกลิ่น หรือรสของยาได้ อย่างไรก็ตาม ก่อนหน้านี้ Bayer ได้ทำการผลิตยาตัวนี้ในรูป flavor-tab ซึ่งมีรสชาตที่ดีขึ้น ซึ่งทำให้ให้ยาได้ง่ายขึ้น
*ในการติดเชื้อบางชนิด หรือการติดเชื้อในบางอวัยวะ อาจต้องใช้ในขนาดที่สูงกว่าที่แนะนำ ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่มีข้อสงสัย
*ไม่ควรใช้ในตระกูลนี้กับสัตว์ที่มีปัญหาโรคลมชัก
* เอนโรฟลอกซาซินอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อจอประสาทตา (Retina) ในแมวเมื่อได้รับยาในขนาดสูงได้ ซึ่งแมวอาจตาบอดชั่วคราว หรือถาวรจากผลของยาได้ ณ. ขณะปัจจุบันเราพบปัญหานี้ปัญหานี้เฉพาะในรายที่ได้รับยาเอนโรฟลอกซาซิน เท่านั้น ยังไม่พบปัญหานี้ในรายที่ใช้ยาตระกูลฟลูออโรควิโนโลนตัวอื่นๆ ถึงแม้ว่าในทางทฤษฎียาตระกูลนี้จะทำให้เกิดความเสียหายต่อจอประสาทตา (Retina) ในแมวได้ก็ตาม
* เอนโรฟลอกซาซินสามารถทำให้เกิดผลึกของยาในปัสสาวะได้ แต่ยังไม่มีรายงานว่ายาเอนโรฟลอกซาซินทำให้เกิดนิ่ว
*เอนโรฟลอกซาซินเป็นพิษในคน ถ้าได้รับโดยการกิน หรือฉีด โดยเฉพาะในเด็ก ดังนั้นควรเก็บยาให้พ้นมือเด็ก แต่ถ้าเป็นการสัมผัสกับยา เช่นถือเม็ดยาเพื่อป้อนแก่สัตว์เลี้ยงจะไม่มีปัญหาใดๆ
ยาน่ารู้ 3 ออร์บิฟลอกซาซิน (Orbifloxacin)
ยาน่ารู้ 3 ออร์บิฟลอกซาซิน (Orbifloxacin)
บทความเกี่ยวกับยาต่างๆ ผู้เขียนเขียนขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่เจ้าของสัตว์ โดยอยู่บนความเชื่อที่ว่า เจ้าของสัตว์ควร และมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูลของรักษาจากสัตวแพทย์ที่ได้กระทำกับสัตว์สัตว์เลี้ยงของท่านอย่างเต็มที่เท่าที่จำเป็นที่อย่างที่ควรจะได้รับตามสิทธิของผู้บริโภค ซึ่งผู้เขียนเชื่อว่าหมดยุคของการปกปิดข้อมูลแล้ว อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และไม่สนับสนุนให้ผู้ไปหาซื้อยามาลองใช้กับสัตว์ป่วยของตนเองโดยไม่ผ่านการตรวจ และให้คำแนะนำในการใช้ยาต่างๆจากสัตวแพทย์ เพราะคุณ หรือสัตว์ได้รับผลเสียบางอย่างที่คาดไม่ถึงได้ รวมถึงจะขอเตือนว่าอย่าเอาข้อสิ่งที่ได้อ่านไปแสดงความอวดรู้ต่อสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการโดยเด็ดขาด เพราะว่าสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการก็เป็นแค่ปุถุชนคนหนึ่งซึ่งอาจมีทิฐิ และอารมณ์บางอย่างซึ่งอาจเกิดผลเสียบางอย่างกับคุณ หรือสัตว์เลี้ยงของคุณได้ ถึงแม้ว่า ผู้เขียน เชื่อมั่นอย่างยิ่งว่าสัตวแพทย์ทุกคนมีความเป็นมืออาชีพที่สูงพอก็ตาม
ชื่อการค้า: Orbax
รูปแบบของยา: เม็ดขนาด 5.7 mg, 22.7 mg และ 68 mg
ออร์บิฟลอกซาซิน เป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มยาฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) ซึ่งยาตัวอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันนี้ได้แก่ เอนโรฟลอกซาซิน ซิโปรฟลอกซาซิน มาร์โบฟลอกซาซิน เป็นต้น ยาในกลุ่มนี้ จะออกฤทธิ์ต่อตัวแบคทีเรียโดยการยับยั้ง DNA gyrase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการ DNA transcription ของแบคทีเรีย ซึ่งผลของการยับยั้บ DNA gyrase นี้จะทำให้ไม่สามารถอ่านคำสั่งที่อยู่บน DNA ได้ ซึ่งผลที่ตามมาคือเซลล์ของแบคทีเรียตาย แต่ยาในกลุ่มนี้ไม่สามารถออกฤทธิ์ DNA gyrase ฃองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเช่น สุนัข แมว หรือมนุษย์ได้เพราะโครงสร้างทางเคมีของตัว DNA gyrase ต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ยาออร์บิฟลอกซาซินเป็นยาฟลูออโรควิโนโลนที่มีการดูดซึมจากทางเดินอาหารที่ค่อนข้างเร็ว หรือกล่าวอีกอย่างคือ 100% ของยาจะถูกดูดซึมภายใน 46 นาที
ในทางสัตวแพทย์จะใช้ยาตัวนี้ในกรณีต่อไปนี้
*การติดเชื้อ Pseudomonas
*การติดเชื้อ Staphylococci รวมทั้งการติดเชื้อตัวนี้ที่ผิวหนัง
อย่างไรก็ตามยาตระกูลฟลูออโรควิโนโลนจะไม่ได้ผลกับการติดเชื้อแอนาโรบิค เช่น ฝี หรือ การติดเชื้อในช่องปาก
ผลข้างเคียงจาการใช้ยาตัวนี้ได้แก่
*มีอาการอาเจียนหรือท้องเสียในรายที่ใช้ยาตัวนี้สูงกว่าขนาดที่แนะนำ 10 เท่า แต่ยังไม่พบอาการเหล่านี้เมื่อใช้ในขนาดที่แนะนำ
*ทำให้กระดูกอ่อนตามข้อต่อต่างๆเกิดความเสียหายจากผลของยา ซึ่งพบได้ในสุนัขอายูไม่เกิน 8 เดือน แต่ไม่พบปัญหานี้ในแมว
การใช้ยาออร์บิฟลอกซาซินร่วมยาตัวอื่น
*ยาซูคราเฟต (Sulcrafate) ซึ่งเป็นยารักษาโรคกระเพาะตัวหนึ่ง จะสามารถจับกับยาออร์บิฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
* ยาออร์บิฟลอกซาซินอาจทำให้ระดับยาทีโอฟิลิน (ยาขยายหลอดลม) ที่ใช้ร่วมกัน ในกระแสเลือดสูงขึ้นได้ ควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ในรายที่ได้รับยาไซโคสปอริน เช่นในรายที่ใช้ยาตัวนี้ในการรักษาโรคภูมิแพ้ ยาออร์บิฟลอกซาซินจะทำให้ยาไซโคสปอรินเป็นพิษต่อไตได้รุนแรงขึ้น ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ยาออร์บิฟลอกซาซินจะมีการออกฤทธิ์แบบเสริมฤทธิ์กันในการต้านการติดเชื้อแบคทีเรีย เมื่อใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม เพนนิซิลิน หรือเซบฟาโรสปอริน
*เกลือแร่ต่างๆที่อยู่ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเช่น ธาตุเหล้ก สังกะสี จะสามารถจับกับยาออร์บิฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
ข้อควรรู้
*ยาเม็ดออร์บิฟลอกซาซิน จะมีการเคลือบเพื่อดับกลิ่น และรสของยา ดั้งนั้นในกรณีที่มีการหัก หรือบดเม็ดยาจะทำให้สัตว์ป่วยสามารถรับรู้รสขมจัดของยาได้
*การบดยาเพื่อผสมกับอาหารหลายๆชนิด ไม่สามารถดับกลิ่น หรือรสของยาได้
*ในการติดเชื้อบางชนิด หรือการติดเชื้อในบางอวัยวะ อาจต้องใช้ในขนาดที่สูงกว่าที่แนะนำ ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่มีข้อสงสัย
*ไม่ควรใช้ในตระกูลนี้กับสัตว์ที่มีปัญหาโรคลมชัก
* ณ ขณะที่เขียนเรื่องนี้ ยาตัวนี้ยังมีราคาที่ค่อนข้างจะสูง เมื่อเทียบกับมาตรฐานค่าครองชีพของประเทศไทย เจ้าของสัตว์ที่ไม่พร้อมที่เรื่องค่าใช้จ่าย ควรแจ้งคุณหมอล่วงหน้า เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างคุณหมอ และเจ้าของสัตว์ผู้ใช้บริการ
บทความเกี่ยวกับยาต่างๆ ผู้เขียนเขียนขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่เจ้าของสัตว์ โดยอยู่บนความเชื่อที่ว่า เจ้าของสัตว์ควร และมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูลของรักษาจากสัตวแพทย์ที่ได้กระทำกับสัตว์สัตว์เลี้ยงของท่านอย่างเต็มที่เท่าที่จำเป็นที่อย่างที่ควรจะได้รับตามสิทธิของผู้บริโภค ซึ่งผู้เขียนเชื่อว่าหมดยุคของการปกปิดข้อมูลแล้ว อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และไม่สนับสนุนให้ผู้ไปหาซื้อยามาลองใช้กับสัตว์ป่วยของตนเองโดยไม่ผ่านการตรวจ และให้คำแนะนำในการใช้ยาต่างๆจากสัตวแพทย์ เพราะคุณ หรือสัตว์ได้รับผลเสียบางอย่างที่คาดไม่ถึงได้ รวมถึงจะขอเตือนว่าอย่าเอาข้อสิ่งที่ได้อ่านไปแสดงความอวดรู้ต่อสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการโดยเด็ดขาด เพราะว่าสัตวแพทย์ที่คุณใช้บริการก็เป็นแค่ปุถุชนคนหนึ่งซึ่งอาจมีทิฐิ และอารมณ์บางอย่างซึ่งอาจเกิดผลเสียบางอย่างกับคุณ หรือสัตว์เลี้ยงของคุณได้ ถึงแม้ว่า ผู้เขียน เชื่อมั่นอย่างยิ่งว่าสัตวแพทย์ทุกคนมีความเป็นมืออาชีพที่สูงพอก็ตาม
ชื่อการค้า: Orbax
รูปแบบของยา: เม็ดขนาด 5.7 mg, 22.7 mg และ 68 mg
ออร์บิฟลอกซาซิน เป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มยาฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) ซึ่งยาตัวอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันนี้ได้แก่ เอนโรฟลอกซาซิน ซิโปรฟลอกซาซิน มาร์โบฟลอกซาซิน เป็นต้น ยาในกลุ่มนี้ จะออกฤทธิ์ต่อตัวแบคทีเรียโดยการยับยั้ง DNA gyrase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการ DNA transcription ของแบคทีเรีย ซึ่งผลของการยับยั้บ DNA gyrase นี้จะทำให้ไม่สามารถอ่านคำสั่งที่อยู่บน DNA ได้ ซึ่งผลที่ตามมาคือเซลล์ของแบคทีเรียตาย แต่ยาในกลุ่มนี้ไม่สามารถออกฤทธิ์ DNA gyrase ฃองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเช่น สุนัข แมว หรือมนุษย์ได้เพราะโครงสร้างทางเคมีของตัว DNA gyrase ต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ยาออร์บิฟลอกซาซินเป็นยาฟลูออโรควิโนโลนที่มีการดูดซึมจากทางเดินอาหารที่ค่อนข้างเร็ว หรือกล่าวอีกอย่างคือ 100% ของยาจะถูกดูดซึมภายใน 46 นาที
ในทางสัตวแพทย์จะใช้ยาตัวนี้ในกรณีต่อไปนี้
*การติดเชื้อ Pseudomonas
*การติดเชื้อ Staphylococci รวมทั้งการติดเชื้อตัวนี้ที่ผิวหนัง
อย่างไรก็ตามยาตระกูลฟลูออโรควิโนโลนจะไม่ได้ผลกับการติดเชื้อแอนาโรบิค เช่น ฝี หรือ การติดเชื้อในช่องปาก
ผลข้างเคียงจาการใช้ยาตัวนี้ได้แก่
*มีอาการอาเจียนหรือท้องเสียในรายที่ใช้ยาตัวนี้สูงกว่าขนาดที่แนะนำ 10 เท่า แต่ยังไม่พบอาการเหล่านี้เมื่อใช้ในขนาดที่แนะนำ
*ทำให้กระดูกอ่อนตามข้อต่อต่างๆเกิดความเสียหายจากผลของยา ซึ่งพบได้ในสุนัขอายูไม่เกิน 8 เดือน แต่ไม่พบปัญหานี้ในแมว
การใช้ยาออร์บิฟลอกซาซินร่วมยาตัวอื่น
*ยาซูคราเฟต (Sulcrafate) ซึ่งเป็นยารักษาโรคกระเพาะตัวหนึ่ง จะสามารถจับกับยาออร์บิฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
* ยาออร์บิฟลอกซาซินอาจทำให้ระดับยาทีโอฟิลิน (ยาขยายหลอดลม) ที่ใช้ร่วมกัน ในกระแสเลือดสูงขึ้นได้ ควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ในรายที่ได้รับยาไซโคสปอริน เช่นในรายที่ใช้ยาตัวนี้ในการรักษาโรคภูมิแพ้ ยาออร์บิฟลอกซาซินจะทำให้ยาไซโคสปอรินเป็นพิษต่อไตได้รุนแรงขึ้น ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่ได้ยา เพื่อที่สัตวแพทย์จะได้ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อจำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน
*ยาออร์บิฟลอกซาซินจะมีการออกฤทธิ์แบบเสริมฤทธิ์กันในการต้านการติดเชื้อแบคทีเรีย เมื่อใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม เพนนิซิลิน หรือเซบฟาโรสปอริน
*เกลือแร่ต่างๆที่อยู่ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเช่น ธาตุเหล้ก สังกะสี จะสามารถจับกับยาออร์บิฟลอกซาซิน ทำให้ยาไม่ถูกดูดซึม ดังนั้นในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน ควรให้ยาห่างกันอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
ข้อควรรู้
*ยาเม็ดออร์บิฟลอกซาซิน จะมีการเคลือบเพื่อดับกลิ่น และรสของยา ดั้งนั้นในกรณีที่มีการหัก หรือบดเม็ดยาจะทำให้สัตว์ป่วยสามารถรับรู้รสขมจัดของยาได้
*การบดยาเพื่อผสมกับอาหารหลายๆชนิด ไม่สามารถดับกลิ่น หรือรสของยาได้
*ในการติดเชื้อบางชนิด หรือการติดเชื้อในบางอวัยวะ อาจต้องใช้ในขนาดที่สูงกว่าที่แนะนำ ดังนั้นควรถามสัตวแพทย์ทุกครั้งที่มีข้อสงสัย
*ไม่ควรใช้ในตระกูลนี้กับสัตว์ที่มีปัญหาโรคลมชัก
* ณ ขณะที่เขียนเรื่องนี้ ยาตัวนี้ยังมีราคาที่ค่อนข้างจะสูง เมื่อเทียบกับมาตรฐานค่าครองชีพของประเทศไทย เจ้าของสัตว์ที่ไม่พร้อมที่เรื่องค่าใช้จ่าย ควรแจ้งคุณหมอล่วงหน้า เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างคุณหมอ และเจ้าของสัตว์ผู้ใช้บริการ
Wednesday, October 6, 2010
อาการคันในสัตว์เลี้ยง
อาการคันในสัตว์เลี้ยง
อาการคันในสัตว์เลี้ยงเป็นปัญหาที่ผู้เลี้ยงสัตว์ต้องได้เจอทุกคน เป็นหนึ่งในปัญหาที่ทำให้สัตวแพทย์และเจ้าของสัตว์มีปัญหาไม่เข้าใจกันอยู่บ่อยๆ จัดได้ว่าเป็นตัวที่ทำให้สัตวแพทย์และเจ้าของสัตว์ต้องฝันร้ายอยู่บ่อยๆ อาการคันจัดได้ว่าเป็นอาการหนึ่งของโรคผิวหนัง ซึ่งโรคผิวหนังทีทำให้เกิดอาการคันในสัตว์เลี้ยงแต่ละตัวมักมีหลายโรคร่วมกัน และมักเหนี่ยวนำให้ปัญหารุนแรงกว่าเป็นแค่โรคเดียว นอกจากนี้อาการคันที่เกิดจากโรคบางโรคจะตอบสนองต่อยาลดอาการคันข้างดี แต่ส่วนใหญ่จะไม่ตอบสนอง หรือมีอาการคันกลับมาหลังจากที่หยุดยาลดคันไม่นาน
โรคที่ทำให้เกิดอาการคันได้ การติดปรสิตของผิวหนัง การติดเชื้อแบคทีเรีย หรือยีสต์ของผิวหนัง กลุ่มโรคภูมิแพ้ มะเร็งของผิวหนังบางชนิด หรือความผิดปกติทางจิตเวชเป็นต้น มะเร็งของผิวหนังหรือความผิดปกติทางจิตเวชพบได้น้อยมาก ในขณะที่การติดปรสิตของผิวหนัง การติดเชื้อแบคทีเรีย หรือยีสต์ของผิวหนัง กลุ่มโรคภูมิแพ้ มักเป็นตัวหลักในการสร้างปัญหา และมักเกิดร่วมกัน ทำให้กระบวนการตรวจ วินิจฉัย และรักษามีความยุ่งยาก ซับซ้อน สำหรับตัวผู้เขียนถือว่าเป็นปัญหาที่ท้าทายความสามารถอย่างหนึ่ง และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ต้องตัดสินใจปิดคลินิกระยะเวลาหนึ่งเพื่อไปศึกษาต่อที่ประเทศออสเตรเลียเมื่อ ค.ศ. 2007
ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ขอแนะนำเจ้าของสัตว์ที่กำลังมีปัญหาเรื่องคันว่า ควรพาสัตว์เลี้ยงของท่านไปเข้ารับการตรวจ และรักษาจากสัตวแทย์ และปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด เพื่อนำคุณภาพชีวิตที่ดีกว่ามาสู่สัตว์เลี้ยงของท่าน และตัวท่านเอง
อาการคันในสัตว์เลี้ยงเป็นปัญหาที่ผู้เลี้ยงสัตว์ต้องได้เจอทุกคน เป็นหนึ่งในปัญหาที่ทำให้สัตวแพทย์และเจ้าของสัตว์มีปัญหาไม่เข้าใจกันอยู่บ่อยๆ จัดได้ว่าเป็นตัวที่ทำให้สัตวแพทย์และเจ้าของสัตว์ต้องฝันร้ายอยู่บ่อยๆ อาการคันจัดได้ว่าเป็นอาการหนึ่งของโรคผิวหนัง ซึ่งโรคผิวหนังทีทำให้เกิดอาการคันในสัตว์เลี้ยงแต่ละตัวมักมีหลายโรคร่วมกัน และมักเหนี่ยวนำให้ปัญหารุนแรงกว่าเป็นแค่โรคเดียว นอกจากนี้อาการคันที่เกิดจากโรคบางโรคจะตอบสนองต่อยาลดอาการคันข้างดี แต่ส่วนใหญ่จะไม่ตอบสนอง หรือมีอาการคันกลับมาหลังจากที่หยุดยาลดคันไม่นาน
โรคที่ทำให้เกิดอาการคันได้ การติดปรสิตของผิวหนัง การติดเชื้อแบคทีเรีย หรือยีสต์ของผิวหนัง กลุ่มโรคภูมิแพ้ มะเร็งของผิวหนังบางชนิด หรือความผิดปกติทางจิตเวชเป็นต้น มะเร็งของผิวหนังหรือความผิดปกติทางจิตเวชพบได้น้อยมาก ในขณะที่การติดปรสิตของผิวหนัง การติดเชื้อแบคทีเรีย หรือยีสต์ของผิวหนัง กลุ่มโรคภูมิแพ้ มักเป็นตัวหลักในการสร้างปัญหา และมักเกิดร่วมกัน ทำให้กระบวนการตรวจ วินิจฉัย และรักษามีความยุ่งยาก ซับซ้อน สำหรับตัวผู้เขียนถือว่าเป็นปัญหาที่ท้าทายความสามารถอย่างหนึ่ง และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ต้องตัดสินใจปิดคลินิกระยะเวลาหนึ่งเพื่อไปศึกษาต่อที่ประเทศออสเตรเลียเมื่อ ค.ศ. 2007
ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ขอแนะนำเจ้าของสัตว์ที่กำลังมีปัญหาเรื่องคันว่า ควรพาสัตว์เลี้ยงของท่านไปเข้ารับการตรวจ และรักษาจากสัตวแทย์ และปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด เพื่อนำคุณภาพชีวิตที่ดีกว่ามาสู่สัตว์เลี้ยงของท่าน และตัวท่านเอง
Tuesday, October 5, 2010
อาการคัน และกลุ่มโรคภูมิแพ้ในสัตว์เลี้ยง
อาการคัน และกลุ่มโรคภูมิแพ้ในสัตว์เลี้ยง
การที่สัตว์เลี้ยงของคุณมีปัญหาเรื่องอาการคัน มักนำมาซึ่งปัญหาที่ลำบากใจทั้งสัตว์ และตัวคุณเจ้าของสัตว์เสมอ ในหลายๆราย ปัญหานี้ยังเป็นตัวทดสอบถึงความผูกพันระหว่างตัวคุณ และสัตว์เลี้ยงของคุณ รวมถึงยังทดสอบถึงความเชื่อมั่นของคุณต่อสัตวแพทย์ที่ดูแลสัตว์เลี้ยงของคุณอีกด้วย อาการคันจะให้สัตว์เลี้ยงของคุณเกา และแทะตัวเองตลอดเวลา ซึ่งจะทำให้เกิดการถลอก และมีบาดแผลเกิดขึ้นตามมา สาระที่มีอยู่ในเอกสารที่จะกล่าวต่อไปนี้ จะเป็นการให้ความรู้ และทำความเข้าใจถึงปัญหา และสาเหตุต่างของอาการคัน รวมถึงโรคภูมิแพ้แต่ละชนิดในสัตว์เลี้ยงของคุณเจ้าของสัตว์ทุกท่านที่ได้อ่านบทความนี้
สาเหตุของอาการคันที่พบได้บ่อย
สาเหตุของอาการคันเรื้อรังที่พบได้บ่อย แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ การติดเชื้อของผิวหนัง ปรสิตของผิวหนัง และกลุ่มสุดท้าย “กลุ่มโรคภูมิแพ้” การติดเชื้อของผิวหนังมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และยีสต์ สำหรับปรสิตของผิวหนังตัวหลักๆได้แก่ หมัด และไรตระกูลหิด ที่คลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) มักพบว่าสัตว์ป่วยที่มีอาการคันรุนแรง และเรื้อรังหลายๆรายมีสาเหตุมาจากหมัด และไรตระกูลหิด และทางเราพบว่าเกือบทุกรายที่มีปัญหาโรคภูมิแพ้จะมีอาการแย่ลงเมื่อเริ่มมีปัญหาการติดหมัด! ส่วนกลุ่มโรคภูมิแพ้ได้แก่ การแพ้น้ำลายของหมัด การแพ้สารภูมิแพ้ในอากาศ การแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร และการแพ้สัมผัส
กลุ่มโรคภูมิแพ้ คืออะไร
กลุ่มโรคภูมิแพ้ คือภาวะภูมิไวเกินซึ่งเป็นการตอบสนองต่อสารที่เรียกว่าสารก่อภูมิแพ้ ซึ่งอุบัติการณ์ของกลุ่มโรคภูมิแพ้พบได้มากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในคน และสัตว์ ในคนจะแสดงอาการของโรคภูมิแพ้โดยการจาม น้ำมูกน้ำตาใหล หรือ หอบหืด ส่วนในสุนัขเกือบทั้งหมดจะแสดงอาการทางผิวหนังได้แก่ผิวหนังแดง คัน มีการติดเชื้อของผิวหนังและหูที่ไม่ยอมหายขาด และขนร่วง
กลุ่มโรคภูมิแพ้มีอะไรบ้าง
โรคในกลุ่มโรคภูมิแพ้ตัวหลักๆได้แก่ การแพ้น้ำลายของหมัด การแพ้สารภูมิแพ้ในอากาศ การแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร และการแพ้สัมผัส ในที่นี้จะไม่กล่าวถึงการแพ้สัมผัสเพราะพบได้น้อยมาก จะขอกล่าวถึง 3 ตัวที่เหลือ ซึ่งพบได้ค่อนข้างบ่อย
1.การแพ้น้ำลายของหมัด เป็นโรคผิวหนังของสุนัข และแมวที่พบได้บ่อยที่สุด ที่คลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่า 70% ของสุนัข และแมวที่มีปัญหาโรคผิวหนัง จะมีปัญหาการแพ้น้ำลายหมัดร่วมอยู่ด้วย โรคนี้เกิดจากการแพ้น้ำลายหมัด ดังนั้นน้ำลายจากหมัดเพียงแค่ 1ตัว ก็เพียงพอที่จะทำให้เกิดปัญหาการแพ้ได้แล้ว และปฏิกริยาการแพ้ต่อน้ำลายหมัดจะเกิดหลังจากสัตว์ได้รับน้ำลาย 2 ชั่วโมง ถึง 2 สัปดาห์ ซึ่งเป็นเวลาที่มากพอที่จะหมัดจะหนีไปก่อนที่จะแสดงอาการคัน ทำให้ไม่พบตัวหมัดในสัตว์ตัวที่มีปัญหาได้ จึงมักเกิดคำถามในใจของเจ้าของสัตว์ว่า “ทำไมหมอว่าหมา (แมว) ของผม/ฉัน มีปัญหาการแพ้น้ำลายหมัด ในเมื่อผม/ฉัน ไม่เคยพบหมัดบนตัวหมา (แมว) ของผม/ฉันเลย” ที่สำคัญอีกประการคือ ภูมิอากาศในประเทศไทยเป็นแบบร้อนชื้น ซึ่งเหมาะแก่การแพร่กระจาย และดำรงชีวิตของหมัด จึงสามารถพบปัญหาหมัดในประเทศไทยได้ตลอดปี เนื่องจากการแพ้น้ำลายของหมัดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย จึงจำเป็นต้องควบคุมหมัดอย่างเต็มที่ก่อนที่จะทำการตรวจหาโรคภูมิแพ้ตัวอื่น และเนื่องจากทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าเกือบทุกรายที่มีปัญหาโรคภูมิแพ้จะมีอาการแย่ลงเมื่อเริ่มมีปัญหาการติดหมัด จึงจำเป็นอีกเช่นกันที่ต้องควบคุมหมัดอย่างเต็มที่ ในทุกๆรายที่มีปัญหาภูมิแพ้ (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “การแพ้น้ำลายหมัด”)
2.การแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอาหาร สัตว์บางตัวจะมีการแพ้องค์ประกอบบางอย่างในอาหาร โดยทั่วไปมักแพ้องค์ประกอบพวกโปรตีน หรือคาร์โบไฮเดรทเช่น เนื้อวัว หมู ไก่ ข้าวโพด แป้งสาลี หรือถั่วเหลือง แต่บางตัว เราพบว่าสามารถแพ้พวกสารปรุงแต่งต่างๆเช่น สารถนอมอาหาร สารแต่งสีและกลิ่น เป็นต้น การวินิจฉัยการแพ้สารภูมิแพ้ในอาหารนั้น ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะใช้วิธีทดสอบโดยการให้สัตว์ที่มีปัญหากินอาหารสูตรพิเศษสำหรับการทดสอบเพียงอย่างเดียวเป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วประเมินอาการคัน ถ้าอาการคันลดลงจนต่ำกว่าที่คาดการณ์ ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะทดลองให้กลับไปกินอาหารเดิม แล้วประเมินอาการคันอีกครั้ง ถ้าสรุปได้ว่า มีปัญหาการแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะมีการทดสอบหาว่าองค์ประกอบ หรือสารตัวใดในอาหารที่เป็นปัญหา เพื่อที่จะได้หาวิธีแก้ปัญหาต่อไป (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “การแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร”)
3.การแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอากาศ โรคผิวหนังอักเสบจากสารก่อภูมิแพ้ในอากาศ หรือบางคนเรียกว่าโรคภูมิแพ้ หรือโรคแพ้อากาศ (Canine atopic dermatitis, allergic dermatitis, canine atopy) เป็นอาการของโรคภูมิแพ้ที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะทางกรรมพันธุ์ โดยจะแสดงปฏิกิริยาภูมิแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอากาศ เช่น ไรฝุ่น หรือเกสร ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าสุนัขที่มีปัญหามักจะแสดงอาการครั้งแรกในช่วงอายุระหว่าง 1-3 ปี สัตว์ที่มีปัญหาของโรคนี้จะแสดงอาการถู เลีย แทะ หรือเกา บริเวณเท้า หน้า หู รักแร้หรือโคนขาหนีบ ซึ่งทำให้ขนร่วง ผิวหนังแดง และหนาตัวขึ้นตามมา การวินิจฉัยโรคผิวหนังอักเสบจากสารก่อภูมิแพ้ในอากาศค่อนข้างยุ่งยาก และใช้เวลา ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะอาศัยข้อมูลประวัติของโรคผิวหนัง อาการที่แสดงออก ร่วมกับการประเมินอาการคันที่เหลืออยู่ หลังจากการจำกัดการได้รับน้ำลายหมัด และการจำกัดการแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอาหาร ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือกันทุกฝ่ายทั้งจากตัวสัตว์ป่วย เจ้าของสัตว์และทุกคนในบ้าน รวมทั้งสัตวแพทย์ที่เกี่ยวข้องทุกคน การรักษาในปัจจุบัน เราจะมุ่งเน้นไปที่การจำกัดอาการของโรค และทำให้คุณภาพชีวิตของเจ้าของสัตว์ และตัวสัตว์ป่วยเองให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดเท่าที่ทำได้ (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “โรคผิวหนังอักเสบจากสารก่อภูมิแพ้ในอากาศ ”)
4.การติดเชื้อแทรกซ้อนในกลุ่มโรคภูมิแพ้ ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าโรคในกลุ่มโรคภูมิแพ้ มักเป็นทำให้เกิดการเป็นๆหายๆของการติดเชื้อของผิวหนังและหู ซึ่งเชื้อที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อแทรกซ้อนได้แก่ แบคทีเรีย และยีสต์ ในรายที่มีปัญหาภูมิแพ้แล้วมีการติดเชื้อแทรกซ้อน ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าอาการคันจะรุนแรงขึ้นในทุกๆราย ดังนั้นในการควบคุมอาการคัน ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จำเป็นต้องรักษาการติดเชื้อแทรกซ้อนด้วยเสมอ (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “โรคติดเชื้อของผิวหนัง”)
เราสามารถรักษาโรคในกลุ่มโรคภูมิแพ้ให้หายขาดได้หรือไม่
โชคไม่ดีที่เทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน ยังไม่มีวิธีรักษาโรคภูมิแพ้ให้หายขาดได้ ไม่ว่าในคนหรือสัตว์ก็ตาม และโรคนี้เป็นตลอดชีวิต การรักษาในปัจจุบัน เราจะมุ่งเน้นไปที่การจำกัดอาการของโรค และทำให้คุณภาพชีวิตของเจ้าของสัตว์และตัวสัตว์ป่วยเองให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดเท่าที่ทำได้ ซึ่งทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะมีการสร้างโปรแกรมการบำบัดรักษาให้เหมาะสมกับค่าใช้จ่าย และวิถีการดำเนินชีวิตในแต่ละราย เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการควบคุมโรคกลุ่มนี้
เราสามารถรักษาอาการคันโดยไม่ต้องทำการทดสอบพิเศษต่างๆเลยได้หรือไม่
คำตอบคือได้ เราสามารถสามารถใช้ยา โดยเฉพาะยาในกลุ่มสเตียรอยด์ในการควบคุมอาการคันได้ อย่างไรก็ตามการที่ไม่ได้กำจัดต้นตอของสาเหตุของอาการคันออกไปก่อน เราพบว่าอาการคันจะกลับมาหลังหยุดยา และที่สำคัญการใช้ยาในกลุ่มสเตียรอยด์เป็นระยะเวลานานๆ มักก่อปัญหา และผลข้างเคียงที่รุนแรงจากการใช้ยาได้ ด้วยเหตุผลนี้ ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ขอแนะนำว่าควรที่จะทำการทดสอบพิเศษเพื่อหาสาเหตุของปัญหา เพื่อกำจัดออกไป หรือถ้ากำจัดออกไปไม่ได้เรายังสามารถเลือกวิธีควบคุมปัญหาที่มีความปลอดภัยสูง และมีผลข้างเคียงต่ำได้
การที่สัตว์เลี้ยงของคุณมีปัญหาเรื่องอาการคัน มักนำมาซึ่งปัญหาที่ลำบากใจทั้งสัตว์ และตัวคุณเจ้าของสัตว์เสมอ ในหลายๆราย ปัญหานี้ยังเป็นตัวทดสอบถึงความผูกพันระหว่างตัวคุณ และสัตว์เลี้ยงของคุณ รวมถึงยังทดสอบถึงความเชื่อมั่นของคุณต่อสัตวแพทย์ที่ดูแลสัตว์เลี้ยงของคุณอีกด้วย อาการคันจะให้สัตว์เลี้ยงของคุณเกา และแทะตัวเองตลอดเวลา ซึ่งจะทำให้เกิดการถลอก และมีบาดแผลเกิดขึ้นตามมา สาระที่มีอยู่ในเอกสารที่จะกล่าวต่อไปนี้ จะเป็นการให้ความรู้ และทำความเข้าใจถึงปัญหา และสาเหตุต่างของอาการคัน รวมถึงโรคภูมิแพ้แต่ละชนิดในสัตว์เลี้ยงของคุณเจ้าของสัตว์ทุกท่านที่ได้อ่านบทความนี้
สาเหตุของอาการคันที่พบได้บ่อย
สาเหตุของอาการคันเรื้อรังที่พบได้บ่อย แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ การติดเชื้อของผิวหนัง ปรสิตของผิวหนัง และกลุ่มสุดท้าย “กลุ่มโรคภูมิแพ้” การติดเชื้อของผิวหนังมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และยีสต์ สำหรับปรสิตของผิวหนังตัวหลักๆได้แก่ หมัด และไรตระกูลหิด ที่คลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) มักพบว่าสัตว์ป่วยที่มีอาการคันรุนแรง และเรื้อรังหลายๆรายมีสาเหตุมาจากหมัด และไรตระกูลหิด และทางเราพบว่าเกือบทุกรายที่มีปัญหาโรคภูมิแพ้จะมีอาการแย่ลงเมื่อเริ่มมีปัญหาการติดหมัด! ส่วนกลุ่มโรคภูมิแพ้ได้แก่ การแพ้น้ำลายของหมัด การแพ้สารภูมิแพ้ในอากาศ การแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร และการแพ้สัมผัส
กลุ่มโรคภูมิแพ้ คืออะไร
กลุ่มโรคภูมิแพ้ คือภาวะภูมิไวเกินซึ่งเป็นการตอบสนองต่อสารที่เรียกว่าสารก่อภูมิแพ้ ซึ่งอุบัติการณ์ของกลุ่มโรคภูมิแพ้พบได้มากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในคน และสัตว์ ในคนจะแสดงอาการของโรคภูมิแพ้โดยการจาม น้ำมูกน้ำตาใหล หรือ หอบหืด ส่วนในสุนัขเกือบทั้งหมดจะแสดงอาการทางผิวหนังได้แก่ผิวหนังแดง คัน มีการติดเชื้อของผิวหนังและหูที่ไม่ยอมหายขาด และขนร่วง
กลุ่มโรคภูมิแพ้มีอะไรบ้าง
โรคในกลุ่มโรคภูมิแพ้ตัวหลักๆได้แก่ การแพ้น้ำลายของหมัด การแพ้สารภูมิแพ้ในอากาศ การแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร และการแพ้สัมผัส ในที่นี้จะไม่กล่าวถึงการแพ้สัมผัสเพราะพบได้น้อยมาก จะขอกล่าวถึง 3 ตัวที่เหลือ ซึ่งพบได้ค่อนข้างบ่อย
1.การแพ้น้ำลายของหมัด เป็นโรคผิวหนังของสุนัข และแมวที่พบได้บ่อยที่สุด ที่คลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่า 70% ของสุนัข และแมวที่มีปัญหาโรคผิวหนัง จะมีปัญหาการแพ้น้ำลายหมัดร่วมอยู่ด้วย โรคนี้เกิดจากการแพ้น้ำลายหมัด ดังนั้นน้ำลายจากหมัดเพียงแค่ 1ตัว ก็เพียงพอที่จะทำให้เกิดปัญหาการแพ้ได้แล้ว และปฏิกริยาการแพ้ต่อน้ำลายหมัดจะเกิดหลังจากสัตว์ได้รับน้ำลาย 2 ชั่วโมง ถึง 2 สัปดาห์ ซึ่งเป็นเวลาที่มากพอที่จะหมัดจะหนีไปก่อนที่จะแสดงอาการคัน ทำให้ไม่พบตัวหมัดในสัตว์ตัวที่มีปัญหาได้ จึงมักเกิดคำถามในใจของเจ้าของสัตว์ว่า “ทำไมหมอว่าหมา (แมว) ของผม/ฉัน มีปัญหาการแพ้น้ำลายหมัด ในเมื่อผม/ฉัน ไม่เคยพบหมัดบนตัวหมา (แมว) ของผม/ฉันเลย” ที่สำคัญอีกประการคือ ภูมิอากาศในประเทศไทยเป็นแบบร้อนชื้น ซึ่งเหมาะแก่การแพร่กระจาย และดำรงชีวิตของหมัด จึงสามารถพบปัญหาหมัดในประเทศไทยได้ตลอดปี เนื่องจากการแพ้น้ำลายของหมัดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย จึงจำเป็นต้องควบคุมหมัดอย่างเต็มที่ก่อนที่จะทำการตรวจหาโรคภูมิแพ้ตัวอื่น และเนื่องจากทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าเกือบทุกรายที่มีปัญหาโรคภูมิแพ้จะมีอาการแย่ลงเมื่อเริ่มมีปัญหาการติดหมัด จึงจำเป็นอีกเช่นกันที่ต้องควบคุมหมัดอย่างเต็มที่ ในทุกๆรายที่มีปัญหาภูมิแพ้ (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “การแพ้น้ำลายหมัด”)
2.การแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอาหาร สัตว์บางตัวจะมีการแพ้องค์ประกอบบางอย่างในอาหาร โดยทั่วไปมักแพ้องค์ประกอบพวกโปรตีน หรือคาร์โบไฮเดรทเช่น เนื้อวัว หมู ไก่ ข้าวโพด แป้งสาลี หรือถั่วเหลือง แต่บางตัว เราพบว่าสามารถแพ้พวกสารปรุงแต่งต่างๆเช่น สารถนอมอาหาร สารแต่งสีและกลิ่น เป็นต้น การวินิจฉัยการแพ้สารภูมิแพ้ในอาหารนั้น ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะใช้วิธีทดสอบโดยการให้สัตว์ที่มีปัญหากินอาหารสูตรพิเศษสำหรับการทดสอบเพียงอย่างเดียวเป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วประเมินอาการคัน ถ้าอาการคันลดลงจนต่ำกว่าที่คาดการณ์ ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะทดลองให้กลับไปกินอาหารเดิม แล้วประเมินอาการคันอีกครั้ง ถ้าสรุปได้ว่า มีปัญหาการแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะมีการทดสอบหาว่าองค์ประกอบ หรือสารตัวใดในอาหารที่เป็นปัญหา เพื่อที่จะได้หาวิธีแก้ปัญหาต่อไป (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “การแพ้สารภูมิแพ้ในอาหาร”)
3.การแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอากาศ โรคผิวหนังอักเสบจากสารก่อภูมิแพ้ในอากาศ หรือบางคนเรียกว่าโรคภูมิแพ้ หรือโรคแพ้อากาศ (Canine atopic dermatitis, allergic dermatitis, canine atopy) เป็นอาการของโรคภูมิแพ้ที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะทางกรรมพันธุ์ โดยจะแสดงปฏิกิริยาภูมิแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอากาศ เช่น ไรฝุ่น หรือเกสร ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าสุนัขที่มีปัญหามักจะแสดงอาการครั้งแรกในช่วงอายุระหว่าง 1-3 ปี สัตว์ที่มีปัญหาของโรคนี้จะแสดงอาการถู เลีย แทะ หรือเกา บริเวณเท้า หน้า หู รักแร้หรือโคนขาหนีบ ซึ่งทำให้ขนร่วง ผิวหนังแดง และหนาตัวขึ้นตามมา การวินิจฉัยโรคผิวหนังอักเสบจากสารก่อภูมิแพ้ในอากาศค่อนข้างยุ่งยาก และใช้เวลา ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะอาศัยข้อมูลประวัติของโรคผิวหนัง อาการที่แสดงออก ร่วมกับการประเมินอาการคันที่เหลืออยู่ หลังจากการจำกัดการได้รับน้ำลายหมัด และการจำกัดการแพ้สารก่อภูมิแพ้ในอาหาร ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือกันทุกฝ่ายทั้งจากตัวสัตว์ป่วย เจ้าของสัตว์และทุกคนในบ้าน รวมทั้งสัตวแพทย์ที่เกี่ยวข้องทุกคน การรักษาในปัจจุบัน เราจะมุ่งเน้นไปที่การจำกัดอาการของโรค และทำให้คุณภาพชีวิตของเจ้าของสัตว์ และตัวสัตว์ป่วยเองให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดเท่าที่ทำได้ (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “โรคผิวหนังอักเสบจากสารก่อภูมิแพ้ในอากาศ ”)
4.การติดเชื้อแทรกซ้อนในกลุ่มโรคภูมิแพ้ ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าโรคในกลุ่มโรคภูมิแพ้ มักเป็นทำให้เกิดการเป็นๆหายๆของการติดเชื้อของผิวหนังและหู ซึ่งเชื้อที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อแทรกซ้อนได้แก่ แบคทีเรีย และยีสต์ ในรายที่มีปัญหาภูมิแพ้แล้วมีการติดเชื้อแทรกซ้อน ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) พบว่าอาการคันจะรุนแรงขึ้นในทุกๆราย ดังนั้นในการควบคุมอาการคัน ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จำเป็นต้องรักษาการติดเชื้อแทรกซ้อนด้วยเสมอ (รายละเอียดกรุณาอ่านเพิ่มเติมได้ในเรื่อง “โรคติดเชื้อของผิวหนัง”)
เราสามารถรักษาโรคในกลุ่มโรคภูมิแพ้ให้หายขาดได้หรือไม่
โชคไม่ดีที่เทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน ยังไม่มีวิธีรักษาโรคภูมิแพ้ให้หายขาดได้ ไม่ว่าในคนหรือสัตว์ก็ตาม และโรคนี้เป็นตลอดชีวิต การรักษาในปัจจุบัน เราจะมุ่งเน้นไปที่การจำกัดอาการของโรค และทำให้คุณภาพชีวิตของเจ้าของสัตว์และตัวสัตว์ป่วยเองให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดเท่าที่ทำได้ ซึ่งทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) จะมีการสร้างโปรแกรมการบำบัดรักษาให้เหมาะสมกับค่าใช้จ่าย และวิถีการดำเนินชีวิตในแต่ละราย เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการควบคุมโรคกลุ่มนี้
เราสามารถรักษาอาการคันโดยไม่ต้องทำการทดสอบพิเศษต่างๆเลยได้หรือไม่
คำตอบคือได้ เราสามารถสามารถใช้ยา โดยเฉพาะยาในกลุ่มสเตียรอยด์ในการควบคุมอาการคันได้ อย่างไรก็ตามการที่ไม่ได้กำจัดต้นตอของสาเหตุของอาการคันออกไปก่อน เราพบว่าอาการคันจะกลับมาหลังหยุดยา และที่สำคัญการใช้ยาในกลุ่มสเตียรอยด์เป็นระยะเวลานานๆ มักก่อปัญหา และผลข้างเคียงที่รุนแรงจากการใช้ยาได้ ด้วยเหตุผลนี้ ทางคลินิกบ้านรักสัตว์ (ศูนย์โรคภูมิแพ้ และโรคผิวหนังสัตว์เลี้ยง) ขอแนะนำว่าควรที่จะทำการทดสอบพิเศษเพื่อหาสาเหตุของปัญหา เพื่อกำจัดออกไป หรือถ้ากำจัดออกไปไม่ได้เรายังสามารถเลือกวิธีควบคุมปัญหาที่มีความปลอดภัยสูง และมีผลข้างเคียงต่ำได้
Subscribe to:
Posts (Atom)